Location
ASOKE BTS
Call
092 246 9955
Line Chat
@lephysioclinic
Opening Hours
Mon - Sunday: 7.30AM - 9.30PM

Guillain-Barré syndrome

Guillain-Barré syndrome (GBS) หรือกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร (Guillan Barre Syndrome) หรือ ภาวะภูมิคุ้มกันแปรปรวน เกิดขึ้นเมื่อระบบภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติและผลิตสารภูมิคุ้มกันหรือแอนติบอดี ออกมาทำลายเซลล์ประสาทของระบบประสาทรอบนอกจนอักเสบและสูญเสียการทำงาน ซึ่งมีรายงานจากต่างประเทศกล่าวถึงโอกาสในการเกิดโรค GBS ที่เชื่อมโยงกับการฉีดวัคซีน Covid-19 เนื่องจากวัคซีน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่อาจทำให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติได้

โดในปัจจุบันทางการแพทย์แบ่งกลุ่มอาการ GBS ออกเป็นหลายชนิด โดยชนิดหลัก ๆ ที่มักพบมีดังนี้

  • Acute Inflammatory Demyelinating Polyradiculoneuropathy: AIDP เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด อาการทั่วไปคือกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเริ่มจากอวัยวะส่วนล่างของร่างกายอย่างเท้าและขา แล้วค่อย ๆ ลุกลามขึ้นไปยังอวัยวะส่วนบน เช่น แขน ใบหน้า เป็นต้น
  • กลุ่มอาการมิลเลอร์ ฟิเชอร์ (Miller Fisher Syndrome: MFS) กลุ่มอาการ GBS ชนิดนี้พบบ่อยในชาวเอเชีย ผู้ป่วยจะเกิดอัมพาตบริเวณดวงตาเป็นอันดับแรก
  • Acute Motor-Sensory Axonal Neuropathy: AMSAN และ Acute Motor Axonaสาเหตุของการเกิดโรคนี้Neuropathy: AMAN เป็นชนิดที่มักพบในคนจีน ญี่ปุ่น และเม็กซิกันเป็นหลักซึ่งเป็นรูปแบบที่พบได้น้อยที่สุด

สาเหตุของกลุ่มอาการ Guillain-Barré syndrome (GBS)

เมื่อระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายหันมาทำลายเซลล์ประสาทของระบบประสาทรอบนอก ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางคอยแปลงสัญญาณจากสมองเพื่อส่งไปยังกล้ามเนื้อให้เคลื่อนไหวตามคำสั่ง เซลล์ประสาทจะเกิดการอักเสบและสูญเสียการทำงาน ส่งผลให้กล้ามเนื้อรับสัญญาณที่สมองส่งมาไม่ได้และมีอาการของ GBS ดังข้างต้น

ทั้งนี้ กลุ่มอาการ GBS เกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย แต่ผู้ป่วยส่วนมากอยู่ในวัยผู้ใหญ่ และเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยในปัจจุบันทางการแพทย์ยังไม่พบสาเหตุที่แน่ชัดของกลุ่มอาการนี้ แต่เชื่อว่าอาจมีปัจจัยเสี่ยงบางอย่างที่กระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายทำงานผิดปกติ ได้แก่

  • การติดเชื้อโดยเฉพาะเชื้อ Campylobacter Jejuni ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่ทำให้เกิดอาการท้องเสียและเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักที่อาจก่อให้เกิดกลุ่มอาการ GBS ตามมา รวมถึงการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารจากเชื้อโรคอื่น ๆ การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น
  • วัคซีนเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่อาจทำให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก

การรักษากลุ่มอาการ GBS

กลุ่มอาการ GBS ไม่มียาหรือวิธีรักษาเฉพาะ ในระยะแรก ทางการแพทย์อาจใช้วิธี เช่น การแลกเปลี่ยนพลาสม่า (Plasmapheresis) และ การบำบัดรักษาด้วยอิมมูโนโกลบูลิน (Immunoglobulin Therapy) เป็นต้น

นอกจากนี้ การรักษาโดย Physical Therapy มีส่วนสำคัญในการช่วยฟื้นฟูผู้ป่วย ต่อจากระยะแรก ซึ่งในการฟื้นฟูร่างกายสามารถเยียวยาตนเองได้ เพียงแต่ต้องใช้ระยะเวลา แนวทางการรักษาเพื่อประคับประคองอาการไม่ให้แย่ลง และช่วยให้ร่างกายฟื้นตัวได้เร็วขึ้น โดยนักกายภาพจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อนไหว ป้องกันการยึดติดของเนื้อเยื่อ,ข้อต่อ เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการฝ่อลีบ เพื่อกลับมาทำกิจกรรม เช่น ยืน,เดิน ได้ ช่วยฝึกให้หายใจให้ถูกต้อง ช่วยลดภาวะหอบเหนื่อย กระตุ้นให้ออกกำลังกายกายที่เหมาะสม ไม่หนักและเหนื่อยจนเกินไป ทั้งนี้ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคที่แตกต่างกัน

Guillain-Barré syndrome(GBS)

It is a disease in which the muscles and internal organs of the body are lost. Due to the immune system, patients with this disease will have abnormalities and injure the peripheral nervous system of the body. The peripheral nervous system that this includes the nerves that connect.

With the brain and spinal cord connected to the limbs as well Which is responsible for the movement of muscles

The symptoms that will occur are tingling along the nerves. Including weakness of the feet and legs Which these feelings will extend to the arms and face

Other common symptoms of Guillain-Barré syndrome include:
Symptoms of beriberi and tingling like a needle in the fingertips, big toe, ankles, or wrists
Muscle weakness that starts in the legs and spreads to the upper body
Does not walk straight
Difficulty moving face and eyes (The blink of an eye Chewing and speaking)
Difficulty controlling urination and urination
Faster heart rate
Difficult breathing

In GBS, there is no immediate cure. It may take a long time. Most of the patients die from complications such as bedtime, tiredness, rapid heartbeat.

We cannot prevent it because it is a neurological disease. But we can help restore the patient’s body by

  • Exercise to increase muscle power
  • Practice proper breathing Help reduce asthma
  • Exercise that is not too heavy and tired.
  • Exercise without impact
  • Practice to move the joints in proper posture

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคยอดฮิตของคนปวดหลัง

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคยอดฮิตของคนปวดหลัง!! แก้ง่าย ๆ ด้วย pilates โดยนักกายภาพบำบัด

ออกกำลังกายไม่เหมาะ ฮอร์โมนไม่สมดุล

ปัจจุบันหลายคนหันมาออกกำลังกายและเล่นกีฬามากขึ้น ด้วยความเชื่อที่ว่า การออกกำลังกายทำให้สุขภาพดี ไม่ป่วยง่าย ดูรูปร่างดี ไม่แก่เร็ว แต่ความเป็นจริงกลับพบว่าคนบางคนการออกกำลังกายบางอย่างกลับทำให้สุขภาพแย่ลง แก่เร็ว ไม่มีแรง หงุดหงิดง่าย นอนไม่หลับ น้ำหนักตัวเพิ่มหรือขึ้น ๆ ลง ๆ บางคนมีอาการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและข้อต่อ มีอาการที่้ไม่เคยเป็นมาก่อน
เพราะการทำงานของฮอร์โมนเปลี่ยนไป

ในแต่ละคนอาการของโรคจะหนกัเบาไม่เท่ากนัและยงัมีอาการที่หลากหลายแตกต่างกนัไปผปู้่วยบางคนแสดงอาการ นอ้ยมากหรือบางคนก็อาจมีอาการหนกัจนใชช้ีวิตประจาวนัยากลาบากรุนแรงไปจนถึงพิการก็มีลองมาดอูาการที่พบบ่อยหาก เป็นโรค MS

ในกลุ่มอายุมากกว่า 35 ปีนั้นเป็นวัยที่ร่างกายเริ่มมีความเสื่อมอย่างชัดเจนและระบบต่างๆเริ่มแปรปรวนโดยเฉพาะอย่างยิ่งฮอร์โมน พบว่าฮอร์โมนที่สำคัญต่อการซ่อมแซมและเสริมสร้างร่างกายเช่น Growth hormone และฮอร์โมนที่ทำให้ร่างกายเกิดการตื่นตัว กระปรี้กระเปร่า มีเรี่ยวแรงอย่าง Testosterone จะมีระดับที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ รวมถึงฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ำตาลและกระบวนการเผาผลาญในร่างกายได้แก่ Insulin และ Thyroid Hormone เช่น การคนที่มี Hyperหรือ Hypo thyroid คนวัยนี้จึงยิ่งต้องเพิ่มความระมัดระวังในการเลือกวิธีการออกกำลังกายให้มากขึ้น

ส่วนในกลุ่มคนทำงานหนักหรือคนที่มีความเครียดสูงรวมถึงคนที่มีโรคประจำตัวบางอย่าง สิ่งที่ต้องระวังคือ ภาวะต่อมหมวกไตอ่อนล้าหรือ Adrenal Fatigue เนื่องจากเมื่อเราเกิดความเครียด ระบบประสาทsympathetic (สู้หรือหนี) จะกระตุ้นการทำงานของต่อมหมวกไตให้ผลิตฮอร์โมน Cortisol ออกมาเป็นจำนวนมากเพื่อลดการอักเสบและทำให้ระดับของน้ำตาลในร่างกายเกิดความสมดุล แต่เมื่อถูกกระตุ้นต่อเนื่องนาน ๆ เข้าต่อมนี้ก็จะเกิดการอ่อนล้าไม่สามารถผลิตฮอร์โมนได้อย่างเพียงพอจนเกิดภาวะฮอร์โมนบกพร่อง เช่นเดียวกับการออกกำลังกาย
ประเภทกระตุ้น หรือ Cardio Exercise เช่น วิ่ง ปั่นจักรยาน เต้น, HIIT ,Cross fit ,ชกมวย เวท เทรนนิ่งที่หนักเกินความสามารถของร่างกายมากเกินไป กลับทำให้ร่างกายเกิดความเครียด (Stress ) กระตุ้นระบบประสาท sympathetic มากเกินไปและกระตุ้นต่อมหมวกไตให้ทำงานหนักผิดปกติจนเกิดภาวะต่อมหมวกไตอ่อนล้าเช่นกัน
การออกกำลังกายดังกล่าวจึงอาจยิ่งทำให้ร่างกายเสื่อมเร็วกว่าปกติแทนที่จะก่อประโยชน์กลับก่อผลเสียแทนต้องพิจารณาให้รอบด้าน

โรคปลอกประสาทอักเสบ (multiple sclerosis หรือ MS)

เป็นโรคที่มีการอกัเสบของปลอกประสาทที่หมุ้ เสน้ ประสาทใน ส่วนของสมองเสน้ประสาทตาและไขสันหลงั โดยปลอกประสาท

มีหนา้ที่สาคญัในการนากระแสประสาท ซึ่งเมื่อมีการอกัเสบของ ปลอกประสาทส่งผลใหก้ารนากระแสประสาทของอวยัวะนนั้ ผิดปกติ ทาใหเ้ กิดอาการ อาการแสดงของโรค เช่น เสน้ ประสาทตา อกัเสบทาใหม้ีอาการตามวัมองไม่ชดัหรือไขสนัหลงัอกัเสบทาให้

มีอาการขาสองขา้ งอ่อนแรง เป็นตน้

ในแต่ละคนอาการของโรคจะหนกัเบาไม่เท่ากนัและยงัมีอาการที่หลากหลายแตกต่างกนัไปผปู้่วยบางคนแสดงอาการ นอ้ยมากหรือบางคนก็อาจมีอาการหนกัจนใชช้ีวิตประจาวนัยากลาบากรุนแรงไปจนถึงพิการก็มีลองมาดอูาการที่พบบ่อยหาก เป็นโรค MS

  • ด้านการมองเห็น เห็นภาพซอ้ น มองไม่เห็น เจ็บตา ซึ่งส่วนใหญ่มกั จะเป็นเพียงขา้ งใดขา้ งหนึ่ง ด้านการทรงตัว สญู เสียการทรงตวั อ่อนแรง ขากระตุก หกลม้ ง่ายมือส่นั การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของ
  • รา่ งกายไม่สอดคลอ้ งกนั
  • ด้านสมอง มีปัญหาดา้ นความคิด การตดั สินใจ ความจา รบั และทาความเขา้ ใจขอ้ มลู ต่าง ๆ ไดช้ า้ อาจมี อารมณแ์ ปรปรวน และซึมเศรา้ ได้
  • ด้านการพูดพดูไม่ชดั รวมไปถึงเคยี้วหรือกลืนอาหารลาบาก ด้านระบบปัสสาวะปัสสาวะบ่อยกลนั้ปัสสาวะไม่อยู่และทอ้งผกูอย่บู่อยๆ
  • รู้สึกเหน่ือยล้าง่าย เหน็บชาตามแขนขา และบริเวณใบหนา้ เมื่อขยบั คอจะรูส้ ึกเหมือนโดนไฟช็อต

พิลาทิสช่วยได้อย่างไร ?

เนื่องจากพิลาทิสเป็นการออกกาลงักายที่สามารถปรบัความหนกัเบาใหเ้หมาะสมกบัแต่ละบุคคลได้ จึงเหมาะเป็น อย่างยิ่งกบัผปู้่วยMSที่มีอาการเหนื่อยลา้ง่ายนอกจากนยี้งัเป็นการออกกาลงักายที่เนน้ไปในส่วนของการเพิ่มความแข็งแรง ของกลา้มเนอื้แกนกลางลาตัวซึ่งจาเป็นต่อการทรงตวัใหผ้ปู้่วยที่อาจมีปัญหาได้พิลาทิสเนน้การควบคมุร่างกายจะช่วยใหล้ด

ภาวะส่นั และลดความเสี่ยงต่อการลม้ ไดอ้ ีกดว้ ย

โรคภาวะสมองเสื่อม

โรคที่เป็นสาเหตุของภาวะสมองเสื่อมชนิดที่พบไดม้ าก
ที่สุด ส่งผลต่อสมองส่วนที่ควบคุมความคิด ความทรงจา และการใช้
ภาษา อาการของโรคจะเริ่มจากการหลงลืมที่ไม่รุนแรงจนแย่ลงเร่ือย
ๆ ถึงข้นั ไม่สามารถสนทนาโตต้ อบหรือมีการตอบสนองต่อสิ่งรอบ
ขา้งอาการเริ่มแรกของโรคอลัไซเมอร์อาจมีอาการหลงลืมหรือภาวะ
สับสนที่ค่อยๆพฒั นาไปอย่างชา้ ๆโดยใชเ้วลาหลายปีซ่ึงบางคร้ังมี
ความคลา้ยคลึงกบัโรคอื่นจนทาให้เกิดความสับสนและอาจเขา้ใจผิด
ไปว่าเป็นเพียงอาการหลงลืมเมื่ออายุมากข้ึนท้งั น้ีอาการในผูป้ ่วยแต่
ละรายก็พฒันาชา้เร็วแตกต่างกนัทาให้สามารถคาดเดาไดย้ากว่าอาการจะแย่ลงเมื่อใดอลัไซเมอร์เกิดจากการฝ่อตวัของสมองซ่ึง
จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและการทางานของสมองบริเวณน้นั ๆส่วนสาเหตุท่ีสมองฝ่อตวัลงน้ียงัไม่เป็นท่ีทราบแน่ชดั

พิลาทิสช่วยได้อย่างไร ?

การออกกาลงักายเป็นสิ่งท่ีดีต่อสุขภาพและควรปฏิบตัิอย่างสม่าเสมอไม่เวน้แมแ้ต่ผูป้่วยอลัไซเมอร์โดยหากผปู้่วย
ออกกาลงักายเป็นประจาทุกๆวนัเจะสามารถกระตนุ้การทางานของสมองได้ปรับอารมณ์ให้ดีข้ึนส่งผลดีต่อการทางานของขอ้
ต่อ กลา้ มเน้ือ และหัวใจ นอกจากน้ียงั ช่วยให้นอนหลบั ดีและป้องกนั อาการทอ้ งผูกไดด้ ว้ ย

Cervical HNP

อาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทที่เกิดขึ้นบริเวณคอ ส่วนมากอาการจะเป็นบริเวณ คอ บ่าไหล่ คล้ายๆกับ อาการของผู้ที่มีอาการ office syndrome หลายคนจึงเข้าใจผิดและรักษาด้วยการ นวด หรือ ยืด ตามอาการปวดตามที่นั้นๆ แต่ถ้าอาการที่เกิดขึ้นมาจาก หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท จะไม่สามารถบรรเทาอาการได้ กลไกการเกิดของหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เกิดขึ้นจากการมีความผิดปกติของ โครงสร้าง กระดูกสันหลังส่วนคอ มีแรงกด บีบ ทำให้หมอนรองเกิดการปลิ้นออกมาทับเส้นประสาท การแก้ไข จึงต้องทำให้กระดูกสันหลังส่วนคอกลับมาอยู่ในท่าเดิมที่แข็งแร

Read More

ดูแลตัวเองหลังผ่าตัดข้อไหล่อย่างไร ไม่ให้ข้อไหล่ติด

ดูแลตัวเองหลังผ่าตัดข้อไหล่อย่างไร ไม่ให้ข้อไหล่ติด

หลายๆคนอาจจะรู้สึกกังวลเมื่อรู้ว่าตัวเองจำเป็นต้องเข้ารับการผ่าตัดข้อไหล่ ทั้งอาการปวด อาการบวมหรือแม้กระทั้งการเคลื่อนไหวที่ถูกจำกัด จนอาจคิดไปว่าจะสามารถกลับมาเคลื่อนไหวได้ไม่เหมือนเดิม ไหล่ติด ยกแขนไม่ขึ้น หยิบของเหนือศรีษะ ช็อปปิ้ง หรือแม้กระทั้งกอดคนที่เรารักได้หรือไม่ คำถามในใจต่างๆพวกนี้จะลดลงเมื่อได้ลองอ่านและปฏิบัติตามการดูแลตัวเองแบบ THE BALANCE Physio Pilates

สัปดาห์ 0-2:

การรักษา: ¬Soft tissue mobilization to surrounding tissues, effleurage for edema; gentle PROM
การออกกำลังกาย: Pendulum exercises ทวนเข็ม 10 ครั้ง ตามเข็ม 10 ครั้ง 3 รอบต่อวัน ก่อนและหลังกายออกกำลังกาย
Squeeze ball ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder flexion ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน. Isometric shoulder extension ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder abduction ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder adduction ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder internal rotation ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน. Isometric shoulder external rotation ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Scapular pinches every hour ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Neck stretches for comfort ค้างไว้ 10 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
*การใส่ที่ประคองแขนเป็นสิ่งสำคัญ แต่สิ่งที่สำคัญเช่นกันนั่นคือการพักข้อศอกโดยการงอ-เหยียดศอก ประมาณ 10-15 ครั้ง
เป้าหมาย: ลดอาการปวด และบวม, สามารถงอและเหยียดข้อศอกได้, ใส่ที่ประคองแขนเป็นเวลาอย่างน้อย 4 สัปดาห์หรือจนกว่าแพทย์จะกำหนด

สัปดาห์ 2- 4:

Nurse visit at day 14 for suture removal and checkup.
การรักษา: รักษาด้วยการคลายเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบๆข้อไหล่และคอบ่า (Soft tissue treatments)
การออกกำลังกาย: ¬ ออกกำลังกายตามสัปดาห์แรกอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันปัญหาข้อต่อที่อยู่ในชุดประคองแขนยึดติดรวมถึงข้อไหล่
เป้าหมาย: ลดอาการปวด และบวม, สามารถใช้แขนอีกข้างช่วยยกประคองขึ้นได้ประมาณ 0-60 องศา(Passive range of motion shoulder flexion)

สัปดาห์ 4-8:

แพทย์นัดตรวจประเมินผลของการผ่าตัด โดยส่วนใหญ่จะเริ่มให้เคลื่อนไหวข้อไหล่เอง หรือทำการถอดชุดประคองแขน
การรักษา: รักษาด้วยการคลายเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบๆข้อไหล่และคอบ่า (Soft tissue treatments),นักกายภาพบำบัดเริ่มช่วยประคองแขน เคลื่อนไหวข้อไหล่ให้เกิดการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น (Gentle mobilizations Gr I/II)
การออกกำลังกาย:¬ สัปดาห์ที่ 4 เริ่มบริหารข้อไหล่ในทิศหมุนเข้า-หมุนออกประมาณครึ่งทาง (mid-range of motion external and internal rotations) แบบไม่มีแรงต้าน หรือมีแรงต้านเบาเท่าที่ไม่มีอาการ
*ระวังการยกบ่าหรือการชดเชยของกล้ามเนื้ออื่นๆ และไม่เคลื่อนไหวที่ฝืนมากเกินไหนหรือเท่าที่ไม่เกิดอาการเจ็บที่บริเวณข้อไหล่
เป้าหมาย: สามารถเคลื่อนไหวข้อไหล่ได้เองประมาณ 90 องศา ไปทางด้านหน้าและด้านข้าง
สัปดาห์ที่ 6 สามารถเริ่มใช้มืออีกข้างขยับในทิศหมุนเข้าและออกได้มากขึ้น จนกระทั้งสามารถเคลื่อนไหวได้เองในสัปดาห์ที่ 8

สัปดาห์ 8-12:

การรักษา: นักกายภาพบำบัดเคลื่อนไหวข้อต่อและคลายพังพืดที่เกิดขึ้นได้อย่างเต็มที่บริเวณรอบข้อไหล่และสะบัก โดยมีมีอาการบาดเจ็บ เพื่อลดความตึงตัวและการยึดติดของข้อต่อโดยรอบ
การออกกำลังกาย:¬ เคลื่อนไหวข้อต่อได้ในทุกทิศทาง
* หลังผ่าตัดส่วนใหญ่เมื่อยกแขนเหนือศรีษะ จะสังเกตุเห็นว่าจะมีการยักบ่าหรือยักหัวไหล่ขึ้น นั่นเป็นเพราะกล้ามเนื้อบริเวณรอบข้อไหล่ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงควรสังเกตุการเคลื่อนไหวของตัวเองทุกครั้งเพื่อป้องกันการบาดเจ็บหรือปรึกษาท่าออกกำลังกายกับนักกายภาพบำบัด ยังไม่ควรยกของเหนือศรีษะ
เป้าหมาย: สามารถเคลื่อนไหวข้อต่อโดยใช้มืออีกข้างช่วยจนสุดช่วงการเคลื่อนไหวในทุกทิศทาง และสามารถเคลื่อนไหวได้เองเต็มที่ในช่วงสัปดาห์ที่ 12

สัปดาห์ 12-16:

การออกกำลังกาย:¬ เริ่มออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเบาๆ (เริ่มจากน้ำหนักประมาณ กาแฟ 1แก้ว ไปจนถึงน้ำหนักที่ไม่รู่สึกถึงอาการเจ็บในข้อไหล่)

*พยายามอย่าฟืนร่างกายและฟังสิ่งที่ร่างกายกำลังบอก ค่อยๆปรับเพิ่มน้ำหนักและความยากช้าๆ แล้วจะทำให้ข้อไหล่สามารถกลับมาเคลื่อนไหวได้ปกติเร็วขึ้น

สัปดาห์ 16 เป็นต้นไป:

การออกกำลังกาย: ออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเพื่อเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อให้เพียงพอต่อการใช้งาน
เป้าหมาย: สามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ

.