Location
ASOKE BTS
Call
092 246 9955
Line Chat
@lephysioclinic
Opening Hours
Mon - Sunday: 7.30AM - 9.30PM

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคยอดฮิตของคนปวดหลัง

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคยอดฮิตของคนปวดหลัง!! แก้ง่าย ๆ ด้วย pilates โดยนักกายภาพบำบัด

Read More

ออกกำลังกายไม่เหมาะ ฮอร์โมนไม่สมดุล

ปัจจุบันหลายคนหันมาออกกำลังกายและเล่นกีฬามากขึ้น ด้วยความเชื่อที่ว่า การออกกำลังกายทำให้สุขภาพดี ไม่ป่วยง่าย ดูรูปร่างดี ไม่แก่เร็ว แต่ความเป็นจริงกลับพบว่าคนบางคนการออกกำลังกายบางอย่างกลับทำให้สุขภาพแย่ลง แก่เร็ว ไม่มีแรง หงุดหงิดง่าย นอนไม่หลับ น้ำหนักตัวเพิ่มหรือขึ้น ๆ ลง ๆ บางคนมีอาการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและข้อต่อ มีอาการที่้ไม่เคยเป็นมาก่อน
เพราะการทำงานของฮอร์โมนเปลี่ยนไป

ในแต่ละคนอาการของโรคจะหนกัเบาไม่เท่ากนัและยงัมีอาการที่หลากหลายแตกต่างกนัไปผปู้่วยบางคนแสดงอาการ นอ้ยมากหรือบางคนก็อาจมีอาการหนกัจนใชช้ีวิตประจาวนัยากลาบากรุนแรงไปจนถึงพิการก็มีลองมาดอูาการที่พบบ่อยหาก เป็นโรค MS

ในกลุ่มอายุมากกว่า 35 ปีนั้นเป็นวัยที่ร่างกายเริ่มมีความเสื่อมอย่างชัดเจนและระบบต่างๆเริ่มแปรปรวนโดยเฉพาะอย่างยิ่งฮอร์โมน พบว่าฮอร์โมนที่สำคัญต่อการซ่อมแซมและเสริมสร้างร่างกายเช่น Growth hormone และฮอร์โมนที่ทำให้ร่างกายเกิดการตื่นตัว กระปรี้กระเปร่า มีเรี่ยวแรงอย่าง Testosterone จะมีระดับที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ รวมถึงฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ำตาลและกระบวนการเผาผลาญในร่างกายได้แก่ Insulin และ Thyroid Hormone เช่น การคนที่มี Hyperหรือ Hypo thyroid คนวัยนี้จึงยิ่งต้องเพิ่มความระมัดระวังในการเลือกวิธีการออกกำลังกายให้มากขึ้น

ส่วนในกลุ่มคนทำงานหนักหรือคนที่มีความเครียดสูงรวมถึงคนที่มีโรคประจำตัวบางอย่าง สิ่งที่ต้องระวังคือ ภาวะต่อมหมวกไตอ่อนล้าหรือ Adrenal Fatigue เนื่องจากเมื่อเราเกิดความเครียด ระบบประสาทsympathetic (สู้หรือหนี) จะกระตุ้นการทำงานของต่อมหมวกไตให้ผลิตฮอร์โมน Cortisol ออกมาเป็นจำนวนมากเพื่อลดการอักเสบและทำให้ระดับของน้ำตาลในร่างกายเกิดความสมดุล แต่เมื่อถูกกระตุ้นต่อเนื่องนาน ๆ เข้าต่อมนี้ก็จะเกิดการอ่อนล้าไม่สามารถผลิตฮอร์โมนได้อย่างเพียงพอจนเกิดภาวะฮอร์โมนบกพร่อง เช่นเดียวกับการออกกำลังกาย
ประเภทกระตุ้น หรือ Cardio Exercise เช่น วิ่ง ปั่นจักรยาน เต้น, HIIT ,Cross fit ,ชกมวย เวท เทรนนิ่งที่หนักเกินความสามารถของร่างกายมากเกินไป กลับทำให้ร่างกายเกิดความเครียด (Stress ) กระตุ้นระบบประสาท sympathetic มากเกินไปและกระตุ้นต่อมหมวกไตให้ทำงานหนักผิดปกติจนเกิดภาวะต่อมหมวกไตอ่อนล้าเช่นกัน
การออกกำลังกายดังกล่าวจึงอาจยิ่งทำให้ร่างกายเสื่อมเร็วกว่าปกติแทนที่จะก่อประโยชน์กลับก่อผลเสียแทนต้องพิจารณาให้รอบด้าน

โรคปลอกประสาทอักเสบ (multiple sclerosis หรือ MS)

เป็นโรคที่มีการอกัเสบของปลอกประสาทที่หมุ้ เสน้ ประสาทใน ส่วนของสมองเสน้ประสาทตาและไขสันหลงั โดยปลอกประสาท

มีหนา้ที่สาคญัในการนากระแสประสาท ซึ่งเมื่อมีการอกัเสบของ ปลอกประสาทส่งผลใหก้ารนากระแสประสาทของอวยัวะนนั้ ผิดปกติ ทาใหเ้ กิดอาการ อาการแสดงของโรค เช่น เสน้ ประสาทตา อกัเสบทาใหม้ีอาการตามวัมองไม่ชดัหรือไขสนัหลงัอกัเสบทาให้

มีอาการขาสองขา้ งอ่อนแรง เป็นตน้

ในแต่ละคนอาการของโรคจะหนกัเบาไม่เท่ากนัและยงัมีอาการที่หลากหลายแตกต่างกนัไปผปู้่วยบางคนแสดงอาการ นอ้ยมากหรือบางคนก็อาจมีอาการหนกัจนใชช้ีวิตประจาวนัยากลาบากรุนแรงไปจนถึงพิการก็มีลองมาดอูาการที่พบบ่อยหาก เป็นโรค MS

  • ด้านการมองเห็น เห็นภาพซอ้ น มองไม่เห็น เจ็บตา ซึ่งส่วนใหญ่มกั จะเป็นเพียงขา้ งใดขา้ งหนึ่ง ด้านการทรงตัว สญู เสียการทรงตวั อ่อนแรง ขากระตุก หกลม้ ง่ายมือส่นั การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของ
  • รา่ งกายไม่สอดคลอ้ งกนั
  • ด้านสมอง มีปัญหาดา้ นความคิด การตดั สินใจ ความจา รบั และทาความเขา้ ใจขอ้ มลู ต่าง ๆ ไดช้ า้ อาจมี อารมณแ์ ปรปรวน และซึมเศรา้ ได้
  • ด้านการพูดพดูไม่ชดั รวมไปถึงเคยี้วหรือกลืนอาหารลาบาก ด้านระบบปัสสาวะปัสสาวะบ่อยกลนั้ปัสสาวะไม่อยู่และทอ้งผกูอย่บู่อยๆ
  • รู้สึกเหน่ือยล้าง่าย เหน็บชาตามแขนขา และบริเวณใบหนา้ เมื่อขยบั คอจะรูส้ ึกเหมือนโดนไฟช็อต

พิลาทิสช่วยได้อย่างไร ?

เนื่องจากพิลาทิสเป็นการออกกาลงักายที่สามารถปรบัความหนกัเบาใหเ้หมาะสมกบัแต่ละบุคคลได้ จึงเหมาะเป็น อย่างยิ่งกบัผปู้่วยMSที่มีอาการเหนื่อยลา้ง่ายนอกจากนยี้งัเป็นการออกกาลงักายที่เนน้ไปในส่วนของการเพิ่มความแข็งแรง ของกลา้มเนอื้แกนกลางลาตัวซึ่งจาเป็นต่อการทรงตวัใหผ้ปู้่วยที่อาจมีปัญหาได้พิลาทิสเนน้การควบคมุร่างกายจะช่วยใหล้ด

ภาวะส่นั และลดความเสี่ยงต่อการลม้ ไดอ้ ีกดว้ ย

โรคภาวะสมองเสื่อม

โรคที่เป็นสาเหตุของภาวะสมองเสื่อมชนิดที่พบไดม้ าก
ที่สุด ส่งผลต่อสมองส่วนที่ควบคุมความคิด ความทรงจา และการใช้
ภาษา อาการของโรคจะเริ่มจากการหลงลืมที่ไม่รุนแรงจนแย่ลงเร่ือย
ๆ ถึงข้นั ไม่สามารถสนทนาโตต้ อบหรือมีการตอบสนองต่อสิ่งรอบ
ขา้งอาการเริ่มแรกของโรคอลัไซเมอร์อาจมีอาการหลงลืมหรือภาวะ
สับสนที่ค่อยๆพฒั นาไปอย่างชา้ ๆโดยใชเ้วลาหลายปีซ่ึงบางคร้ังมี
ความคลา้ยคลึงกบัโรคอื่นจนทาให้เกิดความสับสนและอาจเขา้ใจผิด
ไปว่าเป็นเพียงอาการหลงลืมเมื่ออายุมากข้ึนท้งั น้ีอาการในผูป้ ่วยแต่
ละรายก็พฒันาชา้เร็วแตกต่างกนัทาให้สามารถคาดเดาไดย้ากว่าอาการจะแย่ลงเมื่อใดอลัไซเมอร์เกิดจากการฝ่อตวัของสมองซ่ึง
จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและการทางานของสมองบริเวณน้นั ๆส่วนสาเหตุท่ีสมองฝ่อตวัลงน้ียงัไม่เป็นท่ีทราบแน่ชดั

พิลาทิสช่วยได้อย่างไร ?

การออกกาลงักายเป็นสิ่งท่ีดีต่อสุขภาพและควรปฏิบตัิอย่างสม่าเสมอไม่เวน้แมแ้ต่ผูป้่วยอลัไซเมอร์โดยหากผปู้่วย
ออกกาลงักายเป็นประจาทุกๆวนัเจะสามารถกระตนุ้การทางานของสมองได้ปรับอารมณ์ให้ดีข้ึนส่งผลดีต่อการทางานของขอ้
ต่อ กลา้ มเน้ือ และหัวใจ นอกจากน้ียงั ช่วยให้นอนหลบั ดีและป้องกนั อาการทอ้ งผูกไดด้ ว้ ย

Cervical HNP

อาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทที่เกิดขึ้นบริเวณคอ ส่วนมากอาการจะเป็นบริเวณ คอ บ่าไหล่ คล้ายๆกับ อาการของผู้ที่มีอาการ office syndrome หลายคนจึงเข้าใจผิดและรักษาด้วยการ นวด หรือ ยืด ตามอาการปวดตามที่นั้นๆ แต่ถ้าอาการที่เกิดขึ้นมาจาก หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท จะไม่สามารถบรรเทาอาการได้ กลไกการเกิดของหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เกิดขึ้นจากการมีความผิดปกติของ โครงสร้าง กระดูกสันหลังส่วนคอ มีแรงกด บีบ ทำให้หมอนรองเกิดการปลิ้นออกมาทับเส้นประสาท การแก้ไข จึงต้องทำให้กระดูกสันหลังส่วนคอกลับมาอยู่ในท่าเดิมที่แข็งแร

Read More

ดูแลตัวเองหลังผ่าตัดข้อไหล่อย่างไร ไม่ให้ข้อไหล่ติด

ดูแลตัวเองหลังผ่าตัดข้อไหล่อย่างไร ไม่ให้ข้อไหล่ติด

หลายๆคนอาจจะรู้สึกกังวลเมื่อรู้ว่าตัวเองจำเป็นต้องเข้ารับการผ่าตัดข้อไหล่ ทั้งอาการปวด อาการบวมหรือแม้กระทั้งการเคลื่อนไหวที่ถูกจำกัด จนอาจคิดไปว่าจะสามารถกลับมาเคลื่อนไหวได้ไม่เหมือนเดิม ไหล่ติด ยกแขนไม่ขึ้น หยิบของเหนือศรีษะ ช็อปปิ้ง หรือแม้กระทั้งกอดคนที่เรารักได้หรือไม่ คำถามในใจต่างๆพวกนี้จะลดลงเมื่อได้ลองอ่านและปฏิบัติตามการดูแลตัวเองแบบ THE BALANCE Physio Pilates

สัปดาห์ 0-2:

การรักษา: ¬Soft tissue mobilization to surrounding tissues, effleurage for edema; gentle PROM
การออกกำลังกาย: Pendulum exercises ทวนเข็ม 10 ครั้ง ตามเข็ม 10 ครั้ง 3 รอบต่อวัน ก่อนและหลังกายออกกำลังกาย
Squeeze ball ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder flexion ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน. Isometric shoulder extension ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder abduction ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder adduction ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Isometric shoulder internal rotation ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน. Isometric shoulder external rotation ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Scapular pinches every hour ค้างไว้ 5 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
Neck stretches for comfort ค้างไว้ 10 วินาที และพัก 5-10 ครั้งต่อ 1 รอบ 3 รอบต่อวัน.
*การใส่ที่ประคองแขนเป็นสิ่งสำคัญ แต่สิ่งที่สำคัญเช่นกันนั่นคือการพักข้อศอกโดยการงอ-เหยียดศอก ประมาณ 10-15 ครั้ง
เป้าหมาย: ลดอาการปวด และบวม, สามารถงอและเหยียดข้อศอกได้, ใส่ที่ประคองแขนเป็นเวลาอย่างน้อย 4 สัปดาห์หรือจนกว่าแพทย์จะกำหนด

สัปดาห์ 2- 4:

Nurse visit at day 14 for suture removal and checkup.
การรักษา: รักษาด้วยการคลายเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบๆข้อไหล่และคอบ่า (Soft tissue treatments)
การออกกำลังกาย: ¬ ออกกำลังกายตามสัปดาห์แรกอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันปัญหาข้อต่อที่อยู่ในชุดประคองแขนยึดติดรวมถึงข้อไหล่
เป้าหมาย: ลดอาการปวด และบวม, สามารถใช้แขนอีกข้างช่วยยกประคองขึ้นได้ประมาณ 0-60 องศา(Passive range of motion shoulder flexion)

สัปดาห์ 4-8:

แพทย์นัดตรวจประเมินผลของการผ่าตัด โดยส่วนใหญ่จะเริ่มให้เคลื่อนไหวข้อไหล่เอง หรือทำการถอดชุดประคองแขน
การรักษา: รักษาด้วยการคลายเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบๆข้อไหล่และคอบ่า (Soft tissue treatments),นักกายภาพบำบัดเริ่มช่วยประคองแขน เคลื่อนไหวข้อไหล่ให้เกิดการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น (Gentle mobilizations Gr I/II)
การออกกำลังกาย:¬ สัปดาห์ที่ 4 เริ่มบริหารข้อไหล่ในทิศหมุนเข้า-หมุนออกประมาณครึ่งทาง (mid-range of motion external and internal rotations) แบบไม่มีแรงต้าน หรือมีแรงต้านเบาเท่าที่ไม่มีอาการ
*ระวังการยกบ่าหรือการชดเชยของกล้ามเนื้ออื่นๆ และไม่เคลื่อนไหวที่ฝืนมากเกินไหนหรือเท่าที่ไม่เกิดอาการเจ็บที่บริเวณข้อไหล่
เป้าหมาย: สามารถเคลื่อนไหวข้อไหล่ได้เองประมาณ 90 องศา ไปทางด้านหน้าและด้านข้าง
สัปดาห์ที่ 6 สามารถเริ่มใช้มืออีกข้างขยับในทิศหมุนเข้าและออกได้มากขึ้น จนกระทั้งสามารถเคลื่อนไหวได้เองในสัปดาห์ที่ 8

สัปดาห์ 8-12:

การรักษา: นักกายภาพบำบัดเคลื่อนไหวข้อต่อและคลายพังพืดที่เกิดขึ้นได้อย่างเต็มที่บริเวณรอบข้อไหล่และสะบัก โดยมีมีอาการบาดเจ็บ เพื่อลดความตึงตัวและการยึดติดของข้อต่อโดยรอบ
การออกกำลังกาย:¬ เคลื่อนไหวข้อต่อได้ในทุกทิศทาง
* หลังผ่าตัดส่วนใหญ่เมื่อยกแขนเหนือศรีษะ จะสังเกตุเห็นว่าจะมีการยักบ่าหรือยักหัวไหล่ขึ้น นั่นเป็นเพราะกล้ามเนื้อบริเวณรอบข้อไหล่ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงควรสังเกตุการเคลื่อนไหวของตัวเองทุกครั้งเพื่อป้องกันการบาดเจ็บหรือปรึกษาท่าออกกำลังกายกับนักกายภาพบำบัด ยังไม่ควรยกของเหนือศรีษะ
เป้าหมาย: สามารถเคลื่อนไหวข้อต่อโดยใช้มืออีกข้างช่วยจนสุดช่วงการเคลื่อนไหวในทุกทิศทาง และสามารถเคลื่อนไหวได้เองเต็มที่ในช่วงสัปดาห์ที่ 12

สัปดาห์ 12-16:

การออกกำลังกาย:¬ เริ่มออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเบาๆ (เริ่มจากน้ำหนักประมาณ กาแฟ 1แก้ว ไปจนถึงน้ำหนักที่ไม่รู่สึกถึงอาการเจ็บในข้อไหล่)

*พยายามอย่าฟืนร่างกายและฟังสิ่งที่ร่างกายกำลังบอก ค่อยๆปรับเพิ่มน้ำหนักและความยากช้าๆ แล้วจะทำให้ข้อไหล่สามารถกลับมาเคลื่อนไหวได้ปกติเร็วขึ้น

สัปดาห์ 16 เป็นต้นไป:

การออกกำลังกาย: ออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเพื่อเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อให้เพียงพอต่อการใช้งาน
เป้าหมาย: สามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ

.